Conserving Exploring
Leading the Frontier in Genomic Research for a Sustainable World


About us

The Animal Genomics and Bioresource Research Center (AGB) was established to promote expertise in chromosome analysis, comparative genomics, and genetic diversity in animals. Our aim is to clarify genome and chromosome structures to better comprehend genetic diversity and evolutionary processes using both cytogenetic, molecular biology, and genomic techniques. Karyotype and genomic evolution identify the processes of evolutionary changes in vertebrates, and chromosome homologies between different species are deduced by comparative chromosome mapping using cDNA or BACs.

Connect with us

Facebook Pagelike Widget

News & Events

แน่ใจหรือ “บิ๊กอุย” เกิดจากดุกอุยผสมดุกยักษ์แค่ชนิดเดียว

‘ดุกบิ๊กอุย’ และถิ่นที่อยู่ ที่มาของปลาลูกผสมรสชาติถูกปาก

2nd Animal Genomics and Bioresource for ESG & SDG Seminar

Back to Nature: The Strategic Reintroduction of the Red Junglefowl Into the Wild

Research presentation by a Ph.D. candidate and a Master’s student.

รศ. ดร.ครศร ศรีกุลนาถ ได้รับรางวัลนักวิจัยผู้สร้างสรรค์ผลงานวิจัยตีพิมพ์ระดับนานาชาติ ปี 2564

ชี้แจงกรณีถูกพาดพิงในเวทีรับฟังความคิดเห็น ณ สภาผู้แทนราษฎร 18 ต.ค. 2566

Siam Chicken Bioresource Project

Talking about Catfish Genetic and Genomic with Assoc. Prof. Kornsorn

รศ. ดร.ครศร ศรีกุลนาถ ได้รับพระราชทานเกียรติบัตรรางวัลนักวิจัยดีเด่นแห่งชาติ ประจำปี 2566

ร้อยภาพฝันงานอนุรักษ์กวางผา | ความสำเร็จด้านพันธุกรรมของกวางผาในการป้องกันการเลือดชิด

ทีมวิจัย ม.เกษตรค้นพบและยืนยันระบบกำหนดเพศของอิกัวน่า เป็นระบบ XX/XY ครั้งแรกของโลก

การร่วมมือทำงานระหว่าง คณะวิทยาศาสตร์ คณะวนศาสตร์ ม.เกษตรศาสตร์ และ สถานีเพาะเลี้ยงสัตว์ป่าอมก๋อย กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่าและพันธุ์พืช

ประวัติศาสตร์ที่ยังมีชีวิตอยู่…

สัมมนาวิชาการพิพิธภัณฑ์ธรรมชาติวิทยา ครั้งที่ 1 ที่ อพวช

ประชุมการวางแผนยุทธศาสตร์สมาคมพันธุศาสตร์แห่งประเทศไทย

เยี่ยมชมท้องทะเลหมู่เกาะช้าง

ภารกิจการวิจัยและนวัตกรรมของประเทศ ด้านสัตว์เศรษฐกิจ

บรรยากาศภายในบูธนิทรรศการ “แกะรอยปลากัดจากป่าสู่บ้าน”

Live Talk “เปิดโหล ตามรอยปลากัด จากป่ามาสู่บ้าน”


Awards

รศ. ดร.ครศร ศรีกุลนาถ

ได้รับพระราชทานเกียรติบัตรรางวัลการวิจัยแห่งชาติฯ รางวัลนักวิจัยดีเด่นแห่งชาติ ประจำปี 2566 สาขาเกษตรศาสตร์และชีววิทยา ณ ศูนย์นิทรรศการและการประชุมไบเทค บางนา กรุงเทพมหานคร

นักวิจัย

ดร. วรพงศ์ สิงห์ชาติ

รางวัลวิทยานิพนธ์ระดับดีเด่น สาขาเกษตรศาสตร์และชีววิทยา ประจำปีงบระมาณ 2566 จาก สำนักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.)

นิสิตปริญญาโท

นางสาววีรดา ผุยหนองโพธิ์

รางวัลรองชนะเลิศการนำเสนอแบบโปสเตอร์ การประชุมวิชาการ การปรับปรุงพันธุ์และเทคโนโลยีชีวภาพสัตว์ สู่เศรษฐกิจสร้างสรรค์ สถาบันวิจัยและพัฒนาแห่งมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, 13-14 กรกฏาคม 2560

รศ. ดร.ครศร ศรีกุลนาถ

รางวัล Endeavour Scholarships and Fellowships 2018 จาก Department of Education and Training, Australian Government ประเทศออสเตรเลีย

รองคณบดีฝ่ายกิจการพิเศษ

รศ. ดร.ครศร ศรีกุลนาถ

—รางวัลนักวิจัยดีเด่นแห่งชาติ สาขาเกษตรศาสตร์และชีววิทยา ประจำปีงบประมาณ 2566  จาก สำนักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.)

นิสิตปริญญาเอก

นางสาวอรจิรา ประคองชีพ

รางวัลภาคบรรยายดีเด่น การประชุมวิชาการการบริหารจัดการความหลากหลายทางชีวภาพแห่งชาติ ครั้งที่ 4 สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ระหว่างวันที่ 21-23 มิถุนายน 2560

นิสิตปริญญาโท

นางสาววัฑณาวรรณ ใจโต

Best Research Presenter Award. 3rd International Conference on Biodiversity and Climate Change 2023.

Centara Grand & Bangkok Convention Centre at CentralWorld

มหกรรมงานวิจัยแห่งชาติ

โล่ห์เกียรติคุณขอบคุณจากมหกรรมการวิจัยแห่งชาติ 2563 มอบให้แก้โครงการทรัพยากรปลากัดแห่งชาติ (National Betta Bioresource Project: NBBRP)

รศ. ดร.ครศร ศรีกุลนาถ

ได้รับรางวัลนักวิจัยผู้สร้างสรรค์ผลงานวิจัยตีพิมพ์ระดับนานาชาติ ปี 2564 ปริมาณผลงานรวม 17.700 จากสถาบันวิจัยและพัฒนาแห่งมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ณ วันที่ 27 ตุลาคม 2566

รองคณบดีฝ่ายกิจการพิเศษ

รศ. ดร.ครศร ศรีกุลนาถ

—รางวัลที่สร้างผลกระทบมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ประจำปี 2564 (ระดับ Silver ผลงานวิจัยที่สร้างผลกระทบระดับสูง) จัดโดย สวพ.มก.

นักวิจัย

ดร. วรพงศ์ สิงห์ชาติ

รางวัลโล่ประกาศเกียรติคุณ นิสิตเก่าหลักสูตร วท.บ. (วิทยาศาสตร์ชีวภาพ) ในฐานะนิสิตเก่าดีเด่น ประจำปี   พ.ศ. 2566 เนื่องในโอกาสวันคล้ายวันสถาปนาคณะศิลปศาสตร์และวิทยาศาสตร์ ครบรอบ 30 ปี

นิสิตปริญญาเอก

นางสาวนรารัตน์ เหล่าพิเชียรพงษ์

รางวัลภาคโปสเตอร์ดีเด่น การประชุมวิชาการการบริหารจัดการความหลากหลายทางชีวภาพแห่งชาติ ครั้งที่ 4 สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ระหว่างวันที่ 21-23 มิถุนายน 2560 Best oral presentation: SPS Core-to-Core Program 7th International Symposium on Asian Vertebrate Species Diversity, University of Yangon, Myanmar (5-7 December 2017)

นิสิตปริญญาโท

Mr. Tavun Pongsanarm

Best Poster Presentation Award. The 49th International Congress on Science, Technology and Technology-based.